วันพุธที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

สรุป บทที่4 E-Commerce


บทที่4 E-Commerce



E-Commerce
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Electronic Commerce คือ การทำธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในทุกช่องทางที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การซื้อขายสินค้าและบริการ การโฆษณาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ โทรทัศน์ วิทยุ หรือแม้แต่อินเตอร์เน็ต เป็นต้น  โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดค่าใช้จ่าย และเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร  โดยการลดบทบาทองค์ประกอบทางธุรกิจลง เช่น ทำเลที่ตั้ง อาคารประกอบการ โกดังเก็บสินค้า ห้องแสดงสินค้า รวมถึงพนักงานขาย พนักงานแนะนำสินค้า พนักงานต้อนรับลูกค้า เป็นต้น  จึงลดข้อจำกัดของระยะทางและเวลาลงได้

 







กรอบการทํางาน (E-Commerce Framework)



การประยุกตใช (E-commerce Application)
  • การคาปลีกอเิล็กทรอนิกส (E-Retailing) 
  • การโฆษณาอิเล็กทรอนิกส (E-Advertisement) 
  • การประมูลอิเล็กทรอนิกส (E-Auctions) 
  • การบริการอิเล็กทรอนิกส(E-Service) 
  • รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (E-Government) 
  • การพาณิชยผานระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ (M-Commerce : Mobile Commerce) 


การสนับสนุน (E-Commerce Supporting)

ทําหนาที่ชวยเหลือและสนับสนุนสวนของการ ประยุกตใชงานใหทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ เปรียบเสมือนเสาหลัก ของบาน ที่ทําหนาที่ค้ําจุนใหหลังคาบาน สําหรับสวนสนับสนุนของ E-Commerce มี องคประกอบ 5 สวนดวยกันดังตอไปนี้
  • การพัฒนาระบบงาน E-Commerce Application Development  
  • การวางแผนกลยุทธ E-Commerce Strategy 
  • กฎหมายพาณิชยอิเล็กทรอนิกส E-Commerce Law  
  • การจดทะเบียนโดเมนเนม Domain Name Registration  
  • การโปรโมทเว็บไซต Website Promotion 


โครงสรางพื้นฐาน (E-Commerce Infrastructure)

โครงสรางพื้นฐาน เปรียบเสมือนพื้นบ้าน ที่มีรากฐานที่มั่งคง เพื่อที่จะให้ทุกส่วนยืนหยัดอยูได อยางมั่นคงตอไป องคประกอบหลักสําคัญดานเทคโนโลยีพนื้ฐาน ที่จะนํามาใชเพอื่การ พัฒนาระบบพาณชิย     อิเล็กทรอนิกส โดยแบงออกเปน 4 สวน ไดแก 
  • ระบบเครือขาย (Network)  ได้แก่ Internet  Intranet  และ  Extranet
  • ชองทางการติดตอสื่อสาร (Chanel Of Communication)
  • การจัดรูปแบบและการเผยแพรเนื้อหา (Format & Content Publishing) 
  • การรักษาความปลอดภัย (Security) 





Business Model of E-Commerce








Brick and Mortar Organization หรือ Traditional commerce 
คือ  องค์กรที่มีกระบวนการซื้อขายสินค้าแบบทั่วไปขององค์กรธุรกิจ มีอาคารสถานที่ประกอบการค้าขายแบบ "ออฟไลน์ (Off-line)" โดยไม่ได้ขายสินค้าหรือบริการผ่านอินเตอร์เนตนั่นเอง เช่น การซื้อสินค้าด้วยตนเอง หรือสั่งซื้อผ่านพนักงาน (Sales)

Virtual Organization หรือ Pure E-commerce  
คือ  การทำธุรกรรม E-commerce ในรูปแบบดิจิตอล Digital ทุกขั้นตอน หรือ ประกอบการค้าขาย
แบบ "ออนไลน์ (On-line)" ทุกขั้นตอน ไม่ว่าจะเป็นขั้นตอนที่เริ่มจาก 
- การสั่งซื้อสินค้า  หรือ บริการ  
- กระบวนการชำระเงิน
- การส่งมอบ 

ตัวอย่างเช่น การซื้อขาย โปรแกรม เพลง หรือ เกมส์  ผ่านอินเทอร์เน็ตด้วยบัตรเครดิต

Click –and –Mortar Organization หรือ Partial E-commerce 
คือ  การทำธุรกรรม E-commerce ที่ผสมผสานขั้นตอนระหว่าง รูปแบบกายภาพ (Physical) และ รูปแบบ
ดิจิตอล (Digital)  เช่น การสั่งซื้อตำรา  ต้องมีการขนส่งผ่านระบบขนส่งปกติทั่วไป  หรือ การชำระเงินโดยใช้วิธีโอนผ่านธนาคาร หรือ ATM  เป็นต้น





ประเภทของ E-Commerce

กลุมธุรกิจที่คากําไร (Profits Organization) 


  • Business-to-Business (B2B)

คือ รูปแบบการซื้อขาย สินค้าระหว่างธุรกิจกับธุรกิจ เป็นการซื้อขายทีละปริมาณมากๆ มีมูลค่าการซื้อขาย  แต่ละครั้งเป็นจำนวนมาก เป็นการค้าส่ง เช่น ผู้ผลิตขายส่งให้กับพ่อค้าคนกลางเป็นธุรกิจนำเข้า - ส่งออก ชำระเงินผ่านระบบธนาคาร



 




  • Business-to-Customer (B2C)

คือ รูปแบบการจำหน่ายสินค้าโดยตรงจากผู้ค้ากับผู้บริโภคโดยตรง เป็นการค้าปลีก








  • Business-to-Business-to-Customer (B2B2C)

คือ ธุรกิจที่จะส่งสินค้าหรือบริการต่อให้อีกธุรกิจหนึ่งแล้วธุรกิจนั้นก็ไปทำธุรกิจต่อ ให้กับลูกค้าทั่วไป เป็นการเชื่อมต่อ B2B และ B2C เข้าด้วยกัน นั่นคือ องค์กรธุรกิจขายให้องค์กรด้วยกัน แต่องค์กรจะจัดส่งสินค้าให้ลูกค้าอีกทีหนึ่ง




นำกลยุทธ์ตามแบบราคูเท็น บริษัทค้าปลีกออนไลน์จากประเทศญี่ปุ่น ที่เป็นบริษัทแม่ นั่นคือ โมเดลธุรกิจแบบB2B2C

หรือ บริษัทกับบริษัทกับผู้บริโภค มาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับตลาดประเทศไทย เพื่อเพิ่มศักยภาพให้แก่ผู้ประกอบ

การโดยจำนวนผู้ประกอบการใน TARAD.comได้เพิ่มขึ้นกว่า 110% บริษัทฯ ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือผู้ประกอบ

การทุกรายอย่างใกล้ชิดเพื่อสร้างความมั่นใจว่า ลูกค้าจะได้รับการบริการที่ได้มาตรฐาน













  • Customer-to-Customer (C2C) 

คือ รูปแบบการซื้อขาย สินค้าระหว่างผู้บริโภคกับผู้บริโภค เช่น การประกาศขายสินค้าใช้แล้ว (ของมือสอง) เป็นต้น








  • Customer-to-Business (C2B)

คือ การติตต่อธุรกิจจากลูกค้าเข้ามาหาธุรกิจ เช่น การขอบริการ การหาข้อมูล พวก search engine ทั้งหลาย ISP, ASP ที่ลูกค้ามักมีความต้องการติดต่อเข้ามาหาธุรกิจ Yahoo.com , Microsoft.com มา download Software , Egoverment มาขอข้อมูลรัฐและ การร้องขอบริการจากภาครัฐ,Bankasia4u.com ธนาคารออน์ไลน์ ที่ลูกค้าเข้ามาร้องขอทำธุรกรรมการเงิน



  • Mobile Commerce

คือ รูปแบบการค้าในระบบไร้สาย (Wireless) เช่น โทรศัพท์มือถือ เราเรียกว่า M-Commerce โดยเฉพาะในปัจจุปันที่หลาย ๆ คนได้เคยใช้บริการดาวน์โหลด Ring Tone ผ่านโทรศัพท์มือถือ การทำธุรกรรมทางการเงินผ่านมือถือ หรือเรียกว่า I-Banking ซึ่งเป็นรูปแบบของธุรกิจที่กำลังเติบโตไปพร้อมกับการขยายตัวของการใช้โทรศัพท์


 

 

 
กลุมธุรกิจที่ไมคากําไร (Non-Profit Organization)


  • Intrabusiness (Organization) E-Commerce
 หมายถึง การทำธุรกรรมที่ใช้เครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet) เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนข่าวสาร การดำเนินงาน และบริการต่าง ๆ ระหว่างบุคลากรภายในองค์กร เช่น การส่งข้อมูลจากฝ่ายขายไปยังฝ่ายบัญชีเพื่อจัดทำงบการเงิน หรือการร่วมกันออกแบบผลิตภัณฑ์ระหว่างแผนก เป็นต้น

  • Business-to-Employee (B2E) 
ธุรกรรมประเภทนี้เป็นส่วนหนึ่งของ Intrabusiness E-Commerce แต่จะมุ่งเน้นการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารเฉพาะพนักงานภายในองค์กรเท่านั้น เช่น การประชาสัมพันธ์เพื่อแจ้งข่าวการฝึกอบรมและสวัสดิการต่าง ๆ เป็นต้น

  • Government-to-Citizen (G2C) 
เป็นเรื่องการให้บริการของภาครัฐแก่ประชาชนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งปัจจุบันในประเทศไทย มีให้บริการแล้วหลายหน่วยงาน เช่น การคำนวณและเสียภาษี online ผ่านอินเทอร์เน็ต, การให้บริการข้อมูลประชาชนผ่านอินเทอร์เน็ต เป็นต้น











  • Collaborative Commerce (C-Commerce) 
คือ การเอาระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาให้ความร่วมมือ ระหว่างตัวองค์กรต่าง ๆ ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกัน เช่น บริษัทเครือซีเมนต์ไทยกับสาขาย่อยต่าง ๆ

  • Exchange-to-Exchange (E2E) 
เป็นธุรกรรมที่ใช้หลักการเดียวกับ E-Commerce คือเป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร สินค้าและบริการผ่านทางตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ (E-Marketplace) ซึ่งเป็นแหล่งชุมนุมของผู้ซื้อและผู้ขายหลายราย ตัวอย่างเว็บไซต์ประเภทนี้ เช่น www.asungha.com และ www.pantip.com เป็นต้น

  • E-Learning

คือ การเรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได้ ซึ่งการถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทำผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซ์ทราเน็ต ทางสัญญาณโทรทัศน์ หรือ สัญญาณดาวเทียม เป็นต้น ซึ่งการเรียนลักษณะนี้ได้มีการนำเข้าสู่ตลาดเมืองไทยในระยะหนึ่งแล้ว เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน , การเรียนการสอนบนเว็บ (Web-Based Learning), การเรียนออนไลน์ (On-line Learning) การเรียนทางไกลผ่านดาวเทียม หรือ การเรียนด้วยวีดีโอผ่านออนไลน์ เป็นต้น 






ขอแตกตางระหวางการทําธุรกจิทั่วไป กับการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส





ขอดีและขอเสียของ E-Commerce

ขอดี
  • สามารถเปิดดําเนินการไดตลอด 24 ชั่วโมง 
  • สามารถดําเนินการคาขายได้อยางอิสระทั่วโลก 
  • ใชตนทุนในการลงทนุต่ำ
  • ไมตองเสียคาเดินทางในระหวางการดําเนินการ
  • งายตอการประชาสมัพันธ และยังสามารถประชาสัมพันธในครั้งเดียว แตไปไดทั่วโลก 
  • สามารถเขาถึงลูกคาที่ใชบริการอินเทอรเน็ตไดง่าย 
  • ประหยัดคาใช้จายและเวลาสำหรับผูซื้อและผูขาย 
  • ไมจําเปนตองเปดเปนรานขายสินค้าจริงๆ

ขอเสีย 
  • ตองมีระบบการรักษาความปลอดภัยของระบบที่มีประสทิธิภาพ 
  • ไมสามารถเขาถึงลูกคาที่ไมไดใชบริการอนิเทอรเน็ตได 
  • ขาดความเชื่อมั่นในเรื่องการชําระเงินผานทางบัตรเครดิต 
  • ขาดกฎหมายรองรับในเรื่องการดำเนินการธุรกิจขายสินคาแบบออนไลน
  • การดําเนินการทางด้านภาษียังไมชัดเจน 




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น